กิจกรรมที่จะเป็นผูกสัมพันธ์กับการจับฉลาก
การจับฉลากนั้นมักที่จะเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมอื่นๆมากกว่าที่จะเกิดขึ้นเดี่ยวๆ เพราะตัวฉลากเองนั้นไม่ได้มีความหมายหรือคุณค่าในตัวเองแต่จะต้องมีคนกำหนดค่าขึ้นมาแทน หรือเพิ่มเติมคุณค่าของสิ่งที่มีอยู่เดิมเพื่อใช้เป็นฉลากสำหรับกิจกรรมต่างๆ ฉลากส่วนใหญ่มักจะเป็นแผ่นกระดาษรูปแบบต่างๆที่มีการเขียนบางสิ่งบางอย่างลงไปเพื่อกำหนดความหมายหรือคุณค่าของกระดาษนั้นๆในฐานะของฉลากใบหนึ่ง หรือไม่ก็เป็นสิ่งของอื่นๆที่มีอยู่แล้วแต่นำมาใส่ความหมายหรือคุณค่าอื่นๆเพิ่มเติมลงไปในฐานะของฉลาก ตัวอย่างของฉลากแบบแผ่นกระดาษนั้นได้แก่การเขียนเลขลงไปเพื่อแทนลำดับการทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของผู้ที่จับฉลากที่มีเลขใดๆได้ หรือการเขียนประโยคบางอย่างลงไปเพื่อสื่อสารความหมายหนึ่งๆผ่านทางกระดาษ ซึ่งอาจจะเป็นโจทย์ปัญหาต่าง ทั้งปัญหาคณิตศาสตร์ ปัญหาเชาว์ ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ปัญหาทางภาษาต่างๆ เป็นต้น เพื่อฝึกฝนทักษะทางด้านต่างๆผ่านการสุ่มปัญหาต่างๆจากฉลากเหล่านี้ออกมาแก้ไข โดยอาจจะจัดเป็นหมวดหมู่และนำออกมาใช้งานทีละหมวดหมู่ เพื่อเน้นฝึกทักษะต่างๆอย่างเฉพาะเจาะจง นอกจากการเขียนปัญหาในศาสตร์ต่างๆลงไปแล้ว ยังอาจจะเขียนเป็นคำสั่งลงไป เพื่อให้ผู้ที่จับฉลากใบนั้นได้ทำตามคำสั่งที่มีการเขียนเอาไว้ จากข้อความที่กล่าวไปทั้งหมดจะเห็นได้ว่าการจับฉลากส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกับกิจกรรมอื่นๆซึ่งอาจจะมีขอบเขตการเข้าร่วมตั้งแต่ในกลุ่มนักเรียนหรือขยายใหญ่ออกมาเป็นกลุ่มบุคคลทั่วไปก็ได้ โดยกิจกรรมที่จะนำเป็นผูกสัมพันธ์กับการจับฉลากนั้นแทบจะเรียกได้ว่าไร้ขอบเขต